ไดอะแกรมการขึ้นรูปวัสดุ: Total Materia เก็บรวบรวมไดอะแกรมการขึ้นรูปเพื่อใช้ในการคำนวณในช่วงพลาสติก และการการเปลี่ยนรูปร่างของวัสดุหลากหลายชนิด รวมทั้งข้อมูลการอบร้อนและอุณหภูมิขณะทำงาน ทั้งค่าจริงและค่าทางวิศวกรรมของค่าความเค้นจะมีเตรียมไว้ให้ พร้อมทั้งสามารถค้นหาผ่านค่าต่างๆได้

ไดอะแกรมการขึ้นรูปซึ่งเป็นแค่ส่วนหนึ่งใน Extended Range มีส่วนช่วยในการทำงานด้านวิศวกรรมมาก และเมื่อรวมกับฐานข้อมูล Total Materia จึงกลายเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์มหาศาล

ขั้นตอนที่ 1: ค้นหากราฟการขึ้นรูปวัสดุผ่านการค้นหาด่วน

สมมติว่า คุณต้องการดูกราฟการขึ้นรูป 1.1191 DIN

ระบบการค้นหาของ Total Materia เพื่อค้นหาวัสดุที่ต้องการ สามารถกดค้นหาอย่างมีประสิทธิภาพผ่านการกดค้นหาด่วน

ขั้นตอนที่ 2: กำหนดเงื่อนไขการค้นหา

เพียงแค่ใส่หมายเลข และเลือกประเทศ / มาตรฐาน

ทั้งหมดที่คุณต้องทำแล้วได้เพียงแค่คลิกที่ปุ่ม "ค้นหา" เพียงเวลาไม่นาน ระบบค้นหา Total Materiaจะพบวัสดุทั้งหมดซึ่งมี 1.1191 (DIN) ในรายการ

กำหนดเงื่อนไขการค้นหา

ขั้นตอนที่ 3: เลือกกลุ่มย่อย

Total Materia จะแสดงรายการทั้งหมดที่จับคู่ได้ในกลุ่มย่อย หลังจากนั้นคุณสามารถเลือกวัสดุ/มาตรฐานที่คุณสนใจ แล้วดูคุณสมบัติได้ โดยคลิกที่ลิงค์

เลือกกลุ่มย่อย

ในการเข้าดูไดอะแกรมการขึ้นรูปคลิกที่ลิงค์ในกลุ่มย่อยที่คุณเลือก

เลือกกลุ่มย่อย

ขั้นตอนที่ 4: หาไดอะแกรมการขึ้นรูปผ่านการค้นหาแบบพิเศษ

ใน Total Materia คุณสามารถค้นหากราฟการขึ้นรูปผ่าน Extended Range ได้โดยใช้การค้นหาขั้นสูง เพียงแค่คลิกโมดูล Extended Range แล้วกดเลือก การขึ้นรูปในเมนูย่อย

หากว่าต้องการจำกัดวงการค้นหาให้แคบลงสามารถทำได้โดยการเพิ่มเงื่อนไขในการค้นหาลงไป เช่น การอบร้อน การขึ้นรูป อุณหภูมิ และอัตราความเครียด ในกรณีนี้ เรากำลังมองหาสแตนเลสเยอรมัน (DIN) ที่มีอัตราความเครียดอยู่ที่ 10-100(1/s)

ดูไดอะแกรม

ขั้นตอนที่ 5: ดูไดอะแกรม

Total Materia จะแสดงกราฟที่อุณหภูมิห้องซึ่งตรงกับเงื่อนไขการค้นหา แต่ก็ยังสามารถเลือกช่วงของเงื่อนไขจากตัวเลือกที่มี หลังจากเลือกเงื่อนไขที่ต้องการ สามารถไปดูค่าจริงและค่าทางวิศวกรรมของความเค้นและความเครียด อีกทั้งยังสามรถดูกราฟขีดจำกัดการขึ้นรูป (FLC) จริง และทางวิศวกรรม ค่าต่างๆจะแสดงออกมาในรูปแบบตารางเพื่อให้ง่ายต่อการนำไปคำนวณต่อ

อีกทั้งยังสมารถหาข้อมูล r-factor สำหรับวัสดุแต่ละชนิดซึ่งช่วยในการทำ CAE โมเดลได้

ดูไดอะแกรม



[ก่อนหน้า - แนะนำการใช้งาน Extended Range 1]    [เนื้อหา]    [ถัดไป - แนะนำการใช้งาน Extended Range 3]